บุหรี่ไฟฟ้าถูกคิดค้นขึ้นในประเทศจีน ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ยาสูบจำพวกบุหรี่ บุหรี่ซิการ์ และบุหรี่แบบกล้องสูบ ซึ่งทำขึ้นจากอุปกรณ์ประจุแบตเตอรีที่จะทำหน้าที่ในการส่งผ่านนิโคตินไปยังผู้สูบ ในปัจจุบันเริ่มมีลักษณะที่ถูกผลิตให้ไม่มีลักษณะคล้ายบุหรี่ แต่มีลักษณะคล้ายรีโมตรถยนต์ และยังมีรูปแบบที่ผู้ใช้ปรับปรุง (modify) เองด้วย 

กลไกการทำงานของบุหรี่ไฟฟ้า  

การทำงานของบุหรี่ไฟฟ้า จะแบ่งเป็น 2 วิธี คือ

  1. บุหรี่ไฟฟ้าชนิดน้ำ 

โดยจะมีหลักการทำงานด้วยการฉีดเป็นฝอยละอองเมื่อเปิดเครื่องมีการทำงานของแบตเตอรี่เกิดความร้อน ทำให้น้ำยาองุ่นยาวsaltในบุหรี่ไฟฟ้าที่บรรจุอยู่ในสำลี เมื่อมีการสัมผัสขดลวดจนกลายเป็นไอระเหยลักษณะเป็นควันคล้ายไอน้ำ เมื่อผู้สูบบุหรี่สูบไอละอองสีขาวเข้าไปในปอดและพ่นเป็นควันออกมา ร่างกายจะได้รับนิโคติน ซึ่งกลไกการทำงานจะไม่มีการเผาไหม้เหมือนบุหรี่ปกติที่ประกอบด้วยน้ำมันดินหรือทาร์ และคาร์มอนมอนอกไซด์ ซึ่งทำให้ควันบุหรี่ออกมาเป็นสีเทา

  1.  บุหรี่ไฟฟ้าชนิดแห้ง 

ด้วยการใช้เทคนิค saltnic โดยใช้เกลือนิโคตินมาทำความร้อนกับแบตเตอรี่ซึ่งพบว่าปริมาณควันน้อยลง แต่ปริมาณนิโคตินสูงมากขึ้นตั้งแต่ 20 mg -50 mg การคิดค้นบุหรี่ไฟฟ้าขึ้นมา นั่นก็เพื่อต้องการลดอันตรายจากการเผาไหม้ของยาสูบ แต่จากการศึกษาติดตามผลการใช้บุหรี่ไฟฟ้า พบว่า ทำให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคต่าง ๆ ที่รุนแรงมากมายตามมา

โดยบุหรี่ไฟฟ้าทั้ง  2 ชนิดนี้ จะใช้กลไกไฟฟ้าทำให้เกิดความร้อนและไอน้ำที่ประกอบไปด้วยสารเคมีต่าง ๆ โดยไม่มีควันจากกระบวนการเผาไหม้เหมือนบุหรี่ปกติทั่วไป ประกอบด้วยส่วนประกอบหลัก 3 ส่วน คือ แบตเตอรี่  ตัวทำให้เกิดไอและความร้อน (Atomizer) และน้ำยาองุ่นยาวsalt ถ้ากล่าวถึงเฉพาะส่วนของน้ำยาองุ่นยาวsaltที่จะถูกทำให้เป็นไอและเข้าสู่ร่างกายของผู้สูบจะประกอบด้วยสารประกอบหลัก ๆ คือ  

  • นิโคติน ซึ่งเป็นสารเสพติดชนิดหนึ่งที่พบได้ในทั้งบุหรี่ไฟฟ้าและบุหรี่ปกติทั่วไป เป็นสารที่ทำให้ร่างกายเสพติดการสูบบุหรี่
  • โพรไพลีนไกลคอล เป็นส่วนประกอบในสารสำหรับการทำให้เกิดไอ
  • กลีเซอรีน เป็นสารเพิ่มความชื้นที่จะผสมผสานกับสารโพรไพลีนไกลคอล  
  • สารแต่งกลิ่นและรส เป็นสารเคมีที่ใช้กับอาหารทั่ว ๆ ไป ซึ่งมีความปลอดภัยเมื่อรับประทานเข้าสู่ร่างกาย แต่ยังไม่ได้รับการยืนยันว่าเมื่อเปลี่ยนรูปแบบเป็นไอที่สูบหรือสูดแล้วเกิดผลกระทบอย่างไรต่อร่างกาย

นอกจากนี้ ความอันตรายจากสารนิโคตินที่อยู่ในไอละออง ยังมีสารก่อมะเร็ง ได้แก่ ไนโตรซามิน (Nitrosamines) ฟอร์มัลดีไฮด์ โลหะหนักพวกนิเกิล โครเมียม ตะกั่ว เป็นต้น